อสม.

อาสาสมัครสาธารณสุข

www.อสม.com
  • หน้าแรก
  • ความรู้ อสม.
    • ความรู้ อสม. หมอประจำบ้าน   
      • หลักสูตรหมอประจำบ้าน  
        • หมอประจำบ้าน E-Book
        • 1. วิชา อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.)
        • 2. วิชา การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่
        • 3. วิชา การส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ
        • 4. วิชา สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานและการใช้กัญชาทางการแพทย์
        • 5. วิชา เทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม
               (Telemedicine)และแอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพ    
        • 6. วิชา ผู้นำการสร้างสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
      • คู่มือปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่    
    • ความรู้ อสม. 4.0   
      • ชุดความรู้การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
          และการช่วยฟื้นคืนชีพพื้นฐาน
          
      • ชุดความรู้เรื่องโทษและภัยของบุหรี่  
      • ชุดความรู้เรื่องความรู้เรื่องยา RDU  
      • ชุดความรู้เรื่องวัณโรค  
  • ข่าวสาร อสม.
  • แนะนำ app ด้านสุขภาพ
  • คลิปวีดีโอ
    • อสม. ต้นแบบ
    • NCDs
    • การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
    • เรื่องการปฐมพยาบาลและ
      การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
    • SMART อสม.
    • โรคไต (CKD)
    • คลิป วีดีโอ อื่นๆ
  • อินโฟกราฟฟิก
    • เรื่องการปฐมพยาบาลและ
      การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
    • การใช้ยาสมเหตุสมผล
    • อสม. ชวนคนเลิกสูบบุหรี่
    • วัณโรค (TB)
    • อนามัยช่องปาก
    • อื่นๆ
  • หน้าแรก
  • ความรู้ อสม. หมอประจำบ้าน
    • หลักสูตรหมอประจำบ้าน
      • หมอประจำบ้าน E-Book
      • 1. วิชา อาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.)
      • 2. วิชา การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่
      • 3. วิชา การส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญ
      • 4. วิชา สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานและการใช้กัญชาทางการแพทย์
      • 5. วิชา เทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม (Telemedicine)และแอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพ
      • 6. วิชา ผู้นำการสร้างสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
    • คู่มือปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่    
  • ความรู้ อสม. 4.0
    • ชุดความรู้การเจ็บป่วยฉุกเฉิน และการช่วยฟื้นคืนชีพพื้นฐาน
    • ชุดความรู้เรื่องโทษและภัยของบุหรี่
    • ชุดความรู้เรื่องความรู้เรื่องยา RDU
    • ชุดความรู้เรื่องวัณโรค
  • ข่าวสาร อสม.
  • อินโฟกราฟฟิก
    • เรื่องการปฐมพยาบาลและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
    • การใช้ยาสมเหตุสมผล
    • อสม. ชวนคนเลิกสูบบุหรี่
    • วัณโรค (TB)
    • อื่นๆ
  • คลิปวีดีโอ
    • อสม. ต้นแบบ
    • NCDs
    • การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
    • เรื่องการปฐมพยาบาลและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน
  • แนะนำ app ด้านสุขภาพ
  • ไฟล์เอกสาร
    • ไฟล์เอกสารหลัก
    • ไฟล์เอกสารความรู้
  • ติดต่อ อสม.

กิน ปาท่องโก๋ ให้พอดี เพื่อจะได้ไม่เสี่ยงโรค

หมวดหมู่ ข่าวสาร อสม., โดย admin, วันที่ 22 ตุลาคม 63 / อ่าน : 1,344




ปาท่องโก๋

หากทานในปริมาณที่มากเกินไป ก็อาจจะส่งผลต่อร่างกาย

ไขมันทรานส์ ซ่อนอยู่ใน ‘ปาท่องโก๋’

แน่นอนว่าตัวปาท่องโก๋นั้น มีส่วนผสมที่มาจากแป้งสาลี และการทอดน้ำมัน ซึ่งจากกระบวนการทำนี้เอง ก็มีสิ่งที่เรียกว่า ‘ไขมันทรานส์’ หรือ ไขมันอิ่มตัวซ่อนอยู่ โดยโทษของไขมันชนืดนี้นั้น จะไปทำลายไขมันชนิดดีในร่างกาย แถมไขมันชนิดนี้ ก็ก่อให้เกิดโรคต่างๆ ทั้ง โรคความดัน โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง และ โรคระบบภูมิต้านทานให้ทำงานผิดปกติ แถมยังมีสารที่ก่อมะเร็ง นั่นคือ กลุ่มของอะคริลาไมต์ ที่เกิดจากการทอดด้วยน้ำมันชุ่มๆ และอาหารทอดซ้ำนั่นเอง

ส่วนผสมของ ‘ปาท่องโก๋’ ที่ให้คิดก่อนทานซักนิด

ขณะเดียวกัน ด้วยค่าพลังงานที่ให้ต่อหนึ่งคู่นั้น จะให้ค่าอยู่ที่ 145 กิโลแคลอรี่ ไขมัน 9 กรัม โปรตีน 1 กรัม แถมน้ำมันที่ใช้ทอนนั้น เป็นน้ำมันที่ใช้ทอดซ้ำ อาจจะเพิ่มความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจ และมีส่วนผสมจากเกลือโซเดียมจากผงฟูและเกลือที่ใช้ปรุงรส และยิ่งถ้านำปาท่องโก๋ไปจิ้มกับนมข้นที่ทำจากหางนม ก็จะได้รับคาร์โบไฮเดรตเพิ่มเติมอีก โดยกล่าวโดยสรุปคือ หากทานในปริมาณที่มากเกินไป ก็จะส่งผลต่อร่างกายด้วยเช่นกัน

กินคู่กับน้ำเต้าหู้ใส่ธัญพืชเยอะ ๆ น่าจะเสริมประโยชน์กว่า

แม้ว่า ‘ปาท่องโก๋’ จะมีส่วนผสมทีว่ามา และถ้าทานมากๆ อาจจะส่งผลต่อร่างกาย แต่ถ้าทานกับสิ่งที่มีประโยชน์ อย่างน้ำเต้าหู้ ก็อาจจะมีประโยชน์ได้ เพราะน้ำเต้าหู่มีสารอาหารที่ช่วยเรื่องสุขภาพ ทั้งโปรตีน, แอนตี้ออกซิแดนท์ และ เปปไทด์ (Peptide) อีกทั้ง ถ้าเป็นน้ำเต้าหู้ที่ใส่ธัญพืช เช่น ถั่วแดง, เม็ดแมงลัก, ข้าวบาร์เล่ย์ หรือลูกเดือย ก็จะมีไฟเบอร์ที่จะมาช่วยไล่ไขมันในปาท่องโก๋ได้ และช่วยไม่ให้แป้งในปาท่องโก๋ ดูดซึมเร็วเกินไป จนทำให้หิวง่ายอีกด้วย


Facebook Twitter Google+

เรื่องอื่นๆ


คุณประโยชน์ของ “กระชาย” ที่มากกว่าช่วยต้านโควิด-19
คุณประโยชน์ของ “กระชาย” ที่มากกว่าช่วยต้านโควิด-19
ฝากกดไลค์กดแชร์ให้ด้วยนะคะ  เป็นผลงาน อสม. สู่สายตาระดับโลกเพื่อเสนอขอรับรางวัลยูเอ็น (UN) ค่ะ
ฝากกดไลค์กดแชร์ให้ด้วยนะคะ เป็นผลงาน อสม. สู่สายตาระดับโลกเพื่อเสนอขอรับรางวัลยูเอ็น (UN) ค่ะ
กิน ปาท่องโก๋ ให้พอดี เพื่อจะได้ไม่เสี่ยงโรค
กิน ปาท่องโก๋ ให้พอดี เพื่อจะได้ไม่เสี่ยงโรค
ความรู้ทางการเงินของธนาคารเเห่งประเทศไทย
ความรู้ทางการเงินของธนาคารเเห่งประเทศไทย
หากพบแรงงานต่างด้าว ซื้อยาลดไข้จำนวนมาก ควรแจ้ง สสจ.
หากพบแรงงานต่างด้าว ซื้อยาลดไข้จำนวนมาก ควรแจ้ง สสจ.
6 อาหาร ทำเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
6 อาหาร ทำเสี่ยงโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
ดูข่าวสาร อสม.ทั้งหมด



อสม.com
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 88/44 หมู่ 4 ซอย 8 ถนนติวานนท์ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี รหัสไปรษณี 11000
สบส. Call Center โทร 02-193-7999
query